Site icon Romrawin

รวมวิธีการดูแลตนเองหลังเข้ารับการรักษานอนกรนที่ถูกต้อง

85

ในปัจจุบันนวัตรรมทางการแพทย์ได้พัฒนาวิธีรักษานอนกรนหรือภาวะหยุดหายใจขณะหลับ ให้มีทางเลือกที่หลากหลาย อาทิ การรักษานอนกรนด้วยเลเซอร์ Snore Laser, รักษานอนกรนด้วยเครื่องช่วยหายใจ CPAP, รักษานอนกรนโดยใช้เครื่องมือในช่องปาก (Oral Appliances) หรือ รักษานอนกรนด้วยการผ่าตัด (Surgical Treatment) เป็นต้น สาเหตุก็เนื่องจากภัยร้ายที่แฝงอยู่ในอาการกรนซึ่งส่งผลเสียหายต่อสุขภาพและการใช้ชีวิตประจำวันสำหรับคนนอนกรนอย่างมากค่ะ

ใครบ้างที่ควรรักษานอนกรน

การดูแลตนเองหลังรักษานอนกรน

Snore Laser ได้รับการออกแบบและพัฒนาให้สามารถส่งพลังงานลงลึกถึงกล้ามเนื้อบริเวณทางเดินหายใจส่วนต้น เพื่อเข้าหดกระชับกล้ามเนื้อบริเวณนั้น การรักษานอนกรนด้วยวิธีนี้ ไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวภายในช่องปาก ช่วยลดการปิดกั้นทางเดินหายใจ ช่วยให้อาการกรนลดลงตั้งแต่ครั้งแรกที่ทำค่ะ ทำให้การนอนหลับของคุณกลับสู่ภาวะปกติ หลับได้ลึก รู้สึกสดชื่นหลังตื่นนอนในวันรุ่งขึ้น โดยหลังรับการรักษานอนกรนด้วย Snore Laser ต้องดูแลตนเอง ดังนี้ค่ะ

การผ่าตัด การรักษานอนกรนแบบผ่าตัด ช่วยทำให้ขนาดของทางเดินหายใจส่วนบนกว้างขึ้น ทำให้อาการนอนกรน หรือภาวะหยุดหายใจขณะหลับลดลง  โดยวิธีการรักษานอนกรนแบบผ่าตัดนี้แพทย์จะพิจารณาในกรณีที่ผู้ป่วยได้ลอง CPAP  แล้วปฎิเสธการใช้ CPAP และเครื่องมือทางทันตกรรม  ซึ่งการผ่าตัดจะทำมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับตำแหน่งและสาเหตุของการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบนค่ะ

การรักษานอนกรนด้วยวิธีผ่าตัดไม่ได้ทำให้อาการนอนกรนหรือภาวะหยุดหายใจหายขาด  หลังผ่าตัดอาการนอนกรนอาจยังเหลืออยู่ หรือมีโอกาสกลับมาใหม่ได้ ดังนั้น ผู้รับการรักษานอนกรนควรปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง ดังนี้ค่ะ

แม้ว่าคุณจะรับการรักษานอนกรนแล้ว แต่อย่าชะล่าใจและเมินการดูแลสุขภาพเป็นอันขาดนะคะ เพราะอาการกรนอาจกลับมาได้อีกหากไม่ดูแลตนเองตามหลักปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงคนรอบข้างก็ควรเอาใจใส่ผู้ที่รับการรักษานอนกรนอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้ ก็เพื่อป้องกันมิให้เกิดอาการกรนรบกวนสุขภาพและช่วงเวลาพักผ่อนนอนหลับของคุณได้อีกต่อไปนั่นเองค่ะ

Exit mobile version